วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

การวางแผนป้องกันและระงับเหตุฉุกเฉิน

การวางแผนปองกันและระงับเหตุฉุกเฉิน
เหตุฉุกเฉิน หมายถึง เหตุการณที่ไมตองการใหเกิดขึ้น ซึ่งอาจทําใหเกิดการบาดเจ็บ เสียชีวิตและเกิดความเสียหายตอทรัพยสิน
หรืออาจทําใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมภายนอกสถานประกอบการ โดย ที่สถานการณนั้นเกินกําลังความสามารถของ
เจาหนาที่หรือพนักงานคนใดคนหนึ่งที่จะสามารถควบคุม สถานการณไดในทันทีทันใด ตัวอยางเชน การเกิดเพลิงไหมที่มี
เชื้อเพลิงปริมาณมาก การระเบิดที่เกี่ยวของกับสารเคมีปริมาณมาก หรือสารเคมีรั้วไหลในปริมาณมาก เปนตน
ประเภทของเหตุฉุกเฉิน พบบอยในโรงงานหรือสถานประกอบการ ไดแก การเกิดเหตุเพลิงไหม การระเบิด และสารเคมี
รั่วไหล
การเกิดเพลิงไหม
- การเกิดเพลิงไหมโดยปราศจากการระเบิด
- การเกิดเพลิงไหมและมี เหตุการณอื่นรวมดวย เชน การระเบิด และสารพิษ
- การเกิดเพลิงไหมภายหลังการระเบิด
การระเบิด
- การระเบิดที่เกิดจากวัตถุระเบิด
- การระเบิดจากการทําปฏิกิริยาของไอเชื้อเพลิงกับอากาศ
- การระเบิดจากผง ฝุน เชน ถานหิน แปงมัน ขาวโพด น้ําตาล จะรุนแรงกวา การทําปฏิกิริยาจากไอ ยิ่งผงฝุนมีขนาด
เล็ก ก็ จะระเบิดไดรวดเร็ว และ รุนแรง
- การระเบิดจากการขยายตัวของสารและกาซภายใตความอัดดัน
- การระเบิดจากปฏิกิริยาฟชชัน หรือฟวชัน เชน การระเบิดของไฮโดรเจน การระเบิดของนิวตรอน
สารเคมีหกรั่วไหล
- ของเหลวที่ใหไอเปนพิษ เชน เบนซิน คารบอนไดซัลไฟด คลอลีน กรดกํามะถัน
- กาซพิษ เชน ฟอสจีน ไฮโดรเจนซัลไฟด ไฮโดรเจนไซยาไนด แอมโมเนีย
กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปองกันและ ระงับเหตุฉุกเฉินในประเทศไทย
1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ
2. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2536 และพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
3. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542 เรื่องมาตรการคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงาน
หนวยงานที่เกี่ยวของในการระงับเหตุฉุกเฉิน คือ
1. นิคมอุตสาหกรรม
2. กรมควบคุมมลพิษ
แนวคิดในการวางแผนปองกันและระงับเหตุฉุกเฉิน
แบงระดับภาวะฉุกเฉินเปน 3 ระดับ
ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 1 ไดแก ภัยหรือเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในสถานประกอบการที่มีผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินไมมากนัก
ความรุนแรงอยูในบริเวณที่เกิดเหตุ บุคลากรของโรงงานสามารถใชทรัพยากรของตนเองเขาควบคุมระงับเหตุได
ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 2 ภัยหรือเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในสถานประกอบการและอาจลุกลาม เกินความสามารถของบุคลากร ตอง
ขอความชวยเหลือจาก บุคลากร หรือหนวยงานอื่น เขามาชวย2
ภาวะฉุกเฉินระดับที่ 3 กรณีที่ภัยหรือเหตุฉุกเฉินไดลุกลามขยายขนาดใหญ ขอความชวยเหลือไปยังกองอํานวยการปองกัน
ภัย จังหวัดศูนยอํานวยการรวมปฏิบัติ
การวางแผนและระงับเหตุฉุกเฉินมีความสําคัญตอสถานประกอบการ 4 ประการ ดังนี้ คือ
1. สามารถชวยชีวิตผูที่ตกอยูในอันตราย
2. จํากัดความเสียหายตอทรัพยสินและสิ่งแวดลอม
3. สามารถคนหาสาเหตุของเหตุฉุกเฉินไดอยางมีประสิทธิภาพ
4. ชวยปกปองชื่อเสียงของสถานประกอบการ
ประเภทของแผนปองกันและระงับเหตุฉุกเฉิน แบงเปน 3 ประเภท คือ
1. แผนปองกันเหตุฉุกเฉิน (ระยะกอนเกิดเหตุ)
2. แผนระงับ ควบคุม ตอบโตภาวะฉุกเฉิน (ระยะเกิดเหตุ)
3. แผนฟนฟู (ระยะหลังเกิดเหตุ)
การเตรียมความพรอมและการปองกันเหตุ ฉุกเฉิน
แผนปองกันและระงับเหตุฉุกเฉินเปนแววทางในปฏิบัติในสถานการณฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งผูปฏิบัติการจะตองยึดเปน
เกณฑในการตัดสินใจและเปนขอมูลในการทํางาน ดังนั้นการจัดเตรียมเอกสารและขอมูลที่ใชในการวางแผนจึงมีความสําคัญ
และควรเปนขอมูลที่ถูกตองสมบูรณและสามารถนําไปใชประโยชนได
ขอมูลที่จะอยูในแผนฉุกเฉินควรประกอบไปดวยขอมูลตางๆ ดังนี้ หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉิน ขอมูลทั่วไปของโรงงาน เกณฑ
การพิจารณา เหตุการณฉุกเฉิน บทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบ การสื่อสาร คูมือหรือวิธีปฏิบัติการปองกันและระงับเหตุ
ฉุกเฉิน อุปกรณ เครื่องมือ และสถานที่ที่ใชในการปฏิบัติฉุกเฉิน การทดสอบตามแผนการที่วางไว การพัฒนาแผน และการ
บํารุงรักษา เอกสารแสดงความเปนอันตรายของวัตถุอันตราย แผนผังโรงงาน และแผนที่แสดงบริเวณโรงงาน การอบรม
พนักงาน และ เจาหนาที่ปฏิบัติการ และระเบียบปฏิบัติในการายงาน แบบฟอรม
การจัดเตรียมศูนยควบคุมเหตุฉุกเฉิน
ศูนยควบคุมเหตุฉุกเฉินควรมีสถานที่ตั้งอยูหางจากบริเวณที่เสี่ยงตอการเกิดเหตุฉุกเฉินโดยจัดใหมีอยางนอย 2 แหง ซึ่งอยูใน
ทิศทางลมตางกัน และควรออกแบบใหทนไฟและทนแรงระเบิดได รวมทั้งมีอุปกรณในการติดตอสื่อสารและอุปกรณ
ประกอบที่จะใชในการสั่งการตอบโตภาวะฉุกเฉินอยางครบครัน
การจัดเตรียมสัญญาณเตือนภัย
สัญญาณเตือนภัยจะตองทํางานทันทีเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินและสามารถสงสัญญาณใหผูปฏิบัติงานในทุกพื้นที่สามารถไดยินและ
ปฏิบัติตามที่กําหนดไวในแผนปองกันและระงับเหตุฉุกเฉินไดถูกตองและทันการ ดังนั้นการติดตั้งสัญญาณเตือนภัยควร
จะตองติดตั้งตามจุดตางๆที่มีผูปฏิบัติงานตลอดเวลา หรือเปนจุดที่มีความเสี่ยตอการเกิดเหตุฉุกเฉิน เชน
- หองควบคุม หรือ Control room ของโรงงาน
- สํานักงานรักษาความปลอดภัยหรือปอมยาม
- ศูนยควบคุมภาวะฉุกเฉิน
- อาคารสํานักงานภายในบริเวณโรงงาน
- จุดที่ใกลบริเวณถังเก็บสารเคมีอันตราย หรือเชื้อเพลิง
3
อุตสาหกรรมแตละชนิดยอมมีความซับซอนแตกตางกันทั้งการผลิต และการขนสง การจัดเก็บสารเคมีอันตรายตางๆ ดังนั้น
การสรางทีมที่จะตองปฏิบัติการตามแผนฉุกเฉินตามความเหมาะสมกับแตละโรงงานนั้นตองมีการคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู
และความเชี่ยวชาญสามารถปฏิบัติการไดทันทีเมื่อมี เหตุการณฉุกเฉินเกิดขึ้น
ผูมีคุณสมบัติเปนทีมปฏิบัติการปองกันและระงับเหตุฉุกเฉินจะตองมีคุณสมบัติดังนี้
- พนักงานที่โดยปกติทํางานเกี่ยวของกับสารเคมีอันตรายโดยตรงอยูแลว
- มีสุขภาพแข็งแรง
- นักเคมีหรือ วิศวกรเคมี
- ผูที่สามารถทําการปฐมพยาบาลชวยชีวิต
สถานประกอบการจะตองจัดใหมีการฝกอบรมการดับเพลิง และการฝกซอมแผนฉุกเฉิน เพื่อสื่อสาร ใหความรู และฝกปฏิบัติ
ใหเกิดทักษะในการปองกันและระงับเหตุฉุกเฉิน พรอมทั้งสามารถอพยพออกตามเสนทางหนีไฟไดอยางปลอดภัย
แนวทางการดําเนินงานในการฝกซอมแผนฉุกเฉิน มีดังตอไปนี้
1. จัดใหมีการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนแกพนักงาน อยางนอย 40% ตามกฎหมาย
2. จัดใหมีการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นสูงแกพนักงานที่ไดรับมอบหมายพิเศษใหทําหนาที่พนักงานดับเพลิงใหได
จํานวนตามความเหมาะสมของความเสี่ยง
3. จัดใหพนักงานทุกคนไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับแผนการปองกันและระงับเหตุฉุกเฉิน การใชอุปกรณตางๆ ในการ
ดับเพลิง การปฐมพยาบาลและการชวยเหลือฉุกเฉินอยางนอยปละ 1 ครั้ง
4. จัดใหมีการซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินและฝกการอพยพออกจากอาคารไปตามทางหนีไฟอยางปลอดภัย อยางนอย
ปละ 1 ครั้ง
มาตรการในการระงับและฟนฟูเหตุฉุกเฉิน
มาตรการที่ควรปฏิบัติเพื่อระงับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นภายในโรงงาน ควรคํานึงถึง
ปจจัยพื้นฐานของการเกิดเหตุการณฉุกเฉินและเทคนิคที่เปนไปตามหลักการทางวิทยาศาสตร มาตรการระงับ เหตุฉุกเฉินที่
สําคัญคือ การระงับเหตุกรณีไฟไหม การระงับเหตุกรณีสารเคมีรั่วไหล และการระงับเหตุกรณีที่เกิดนอกโรงงาน
มาตรการระงับเหตุฉุกเฉินกรณีไฟไหม
1 เมื่อพบวามีเพลิงไหมใหกดสัญญาณเตือนภัย เพื่อแจงเหตุทันที
2 ใหหยุดการทํางานทันที หากเปนเชื้อเพลิงไหมขนาดใหญตองโทรศัพทแจงหนวยดับเพลิง
3. ใหดําเนินการดับเพลิงใหมากที่สุดเทาที่จะมากได
4. ถามีไฟฟา หรืออุปกรณไฟฟาลุกไหม หามใชน้ําฉีด
5. แยกเชื้อเพลิงออกจากแหลงที่เกิดเพลิงไหมออกไปใหไกล หรือฉีดน้ําคลุมกันไฟ
6. ถาเปน ภาชนะบรรจุกาซ ทอบรรจุกาซ ใหใชน้ําฉีดคลุมไวเพื่อปองกันการระเบิด
มาตรการระงับเหตุฉุกเฉินในกรณีสารเคมีรั่วไหล ตองประเมินสถานการณกอเขาไประงับเหตุ ใชอุปกรณคุมครองความ
ปลอดภัยสวนบุคคล เชน ชุดหนากากปองกันสารเคมี
1. เขาไปที่เกิดเหตุทางดานเหนือลม ดูใหแนชัดวาเปนสารเคมีประเภทอะไร ตัวเลข 4 ตัว บนแผนปายสีสม
2. มองหาตัวเลขสามตัว ที่ บอกหรือแนะนํา ตัวเลขดัชนี ประเภทเคมีภัณฑ ชื่อสารเคมี ชื่อทางการคา วิธีปดวาลว
ระยะหางที่ปลอดภัย
3. พิจารณาการชวยเหลือคนที่ประสบภัยถาทําได
4. พื้นที่บริเวณที่เกิดเหตุตองกันไมใหคนเขาไป เพื่อปองกันการไดรับสารพิษ
มาตรการรองรับภายหลังเกิดเหตุฉุกเฉิน
เพื่อปองกันหรือลดความรุนแรงของปญหาที่จะตามมาภายหลังการปฏิบัติภารกิจระงับเหตุฉุกเฉิน เชน มาตรการฟนฟูเหตุ
ฉุกเฉินที่สําคัญ มีดังนี้เชน การชําระลางการปนเปอนสารเคมี การกําจัดขยะอันตราย การชวยเหลือและคนหาผูประสบภัย เปน
ตน
1. การชําระลางเสื้อผาและผิวหนังผูปฏิบัติงานระงับเหตุฉุกเฉิน
2. การกําจัดขยะอันตราย
3. การลางเครื่องมืออุปกรณที่ปนเปอน
4. การชวยเหลือและคนหาผูประสบภัย
5. การใหขาวตอสื่อมวลชน

0 ความคิดเห็น: